สารบัญ : ข้อมูลการตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ |
||
---|---|---|
No. | รายละเอียด | หน้า |
1. | สถานการณ์การแข่งขัน ปี2561 - ปี2567 | 1 |
3. | ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (Key Success Factor) | 7 |
4. | วิเคราะห์โอกาส / อุปสรรค | 7 |
5. | วิเคราะห์ปัจจัยภายนอก (PEST) | 8 |
P – Politic / Legal | . | |
E – Economic | . | |
S – Social | . | |
T – Technology | . | |
6. | มูลค่าตลาด ปี2565 - ปี2567 | 16 |
9. | แนวโน้ม | 16 |
วิเคราะห์ธุรกิจเครื่องดื่มเกลือแร่ วิเคราะห์ตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ วิเคราะห์อุตสาหกรรมเครื่องดื่มเกลือแร่ วิเคราะห์เครื่องดื่มเกลือแร่ วิเคราะห์swotเครื่องดื่มเกลือแร่ วิเคราะห์stpเครื่องดื่มเกลือแร่ วิเคราะห์โอกาสอุปสรรคเครื่องดื่มเกลือแร่ วิเคราะห์5forcesเครื่องดื่มเกลือแร่ วิเคราะห์FiveForceModelเครื่องดื่มเกลือแร่ วิเคราะห์KSFเครื่องดื่มเกลือแร่ วิเคราะห์PESTELเครื่องดื่มเกลือแร่ วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกเครื่องดื่มเกลือแร่ วิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ วิเคราะห์แผนธุรกิจตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ วิเคราะห์ข้อมูลการตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ หนังสือข้อมูลการตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ หนังสือกลยุทธ์การตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ หนังสือวิเคราะห์การตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ หนังสือวิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ มูลค่าตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่
สถานการณ์การแข่งขันตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ แนวโน้มตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ วิเคราะห์KEYSUCCESSFACTORSเครื่องดื่มเกลือแร่ บริษัทมาร์เก็ตอินโฟแอนด์คอมมิวนิเคชั่นจำกัด มาร์เก็ตอินโฟ marketinfo โฆษณาเครื่องดื่มเกลือแร่ล่าสุด กรณีศึกษาตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ กรณีศึกษาธุรกิจเครื่องดื่มเกลือแร่ กรณีศึกษาอุตสาหกรรมเครื่องดื่มเกลือแร่ พฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่ กลุ่มเป้าหมายเครื่องดื่มเกลือแร่ กลุ่มลูกค้าเป้าหมายเครื่องดื่มเกลือแร่ บริการวิเคราะห์ธุรกิจธุรกิจเครื่องดื่มเกลือแร่ บริการวิเคราะห์การตลาดธุรกิจเครื่องดื่มเกลือแร่ รับวิเคราะห์ธุรกิจธุรกิจเครื่องดื่มเกลือแร่ รับวิเคราะห์การตลาดธุรกิจเครื่องดื่มเกลือแร่ ขายบทวิเคราะห์ธุรกิจธุรกิจเครื่องดื่มเกลือแร่ ขายบทวิเคราะห์การตลาดธุรกิจเครื่องดื่มเกลือแร่ การตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ กลยุทธ์เครื่องดื่มเกลือแร่
จุดอ่อนของเครื่องดื่มเกลือแร่ ยอดขายเครื่องดื่มเกลือแร่ เจ้าของธุรกิจเครื่องดื่มเกลือแร่ ประวัติธุรกิจเครื่องดื่มเกลือแร่ ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มเกลือแร่ ราคาเครื่องดื่มเกลือแร่ ช่องทางการจัดจำหน่ายเครื่องดื่มเกลือแร่ การส่งเสริมการขายเครื่องดื่มเกลือแร่ ตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ในประเทศไทย ธุรกิจเครื่องดื่มเกลือแร่ในประเทศไทย วิเคราะห์ธุรกิจเครื่องดื่มเกลือแร่ไทย วิเคราะห์ตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ไทย วิเคราะห์4Pเครื่องดื่มเกลือแร่ กลยุทธ์ 4p ของเครื่องดื่มเกลือแร่ กลยุทธ์ของเครื่องดื่มเกลือแร่ เป้าหมายเครื่องดื่มเกลือแร่ กระบวนการผลิตเครื่องดื่มเกลือแร่ ข้อดีข้อเสียเครื่องดื่มเกลือแร่ เครื่องดื่มเกลือแร่ข้อมูล ผู้ผลิตเครื่องดื่มเกลือแร่ ผู้ประกอบการรายสำคัญในตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ วิเคราะห์ส่วนประสมทางการตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ การเติบโตของธุรกิจเครื่องดื่มเกลือแร่ ตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ออนไลน์ การตลาดของเครื่องดื่มเกลือแร่ แพลตฟอร์มขายเครื่องดื่มเกลือแร่ออนไลน์ MarketShareตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ รายละเอียดตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ธุรกิจเครื่องดื่มเกลือแร่ งานวิจัยธุรกิจเครื่องดื่มเกลือแร่ งานวิจัยตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ สินค้าทดแทนเครื่องดื่มเกลือแร่ ปัญหาทางการตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ เครื่องดื่มเกลือแร่มีกี่ขนาด ประโยชน์ของเครื่องดื่มเกลือแร่ ตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่ในไทย สินค้าคู่แข่งเครื่องดื่มเกลือแร่ เจาะลึกกลยุทธ์เครื่องดื่มเกลือแร่ การโฆษณาของเครื่องดื่มเกลือแร่ ลักษณะของธุรกิจเครื่องดื่มเกลือแร่ การบริหารงานของเครื่องดื่มเกลือแร่ การตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่2566 การตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่2023 PestelAnalysisเครื่องดื่มเกลือแร่ ส่วนประกอบเครื่องดื่มเกลือแร่ ลักษณะงานเครื่องดื่มเกลือแร่ วิสัยทัศน์เครื่องดื่มเกลือแร่ ข้อมูลเครื่องดื่มเกลือแร่ โครงสร้างองค์กรเครื่องดื่มเกลือแร่ วิจัยพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มเกลือแร่
การแช่งชันในตลาดเครื่องดื่มเกลือแร่หรือสปอร์ตดริ้งค์ แม้ดูผิวเผินจะเห็นผู้เล่นหน้าใหม่แต่เป็นรายเก๋าจากตลาดเครื่องดื่มอื่นๆทยองลงสู่สนามกันอย่างคึกคักตลอดช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา
ทว่าเมื่อศึกษาถึงกลยุทธ์การแข่งขันกันแล้วปรากฎว่า กลับไม่ใช่การลงสนามเพื่อแย่งแชร์จากผู้เล่นรายเดิมในตลาดอย่างสปอนเซอร์ หรือเอ็มสปอร์ต ที่สามารถกุมส่วนแบ่งทางการตลาดได้เกินครึ่งติดต่อกันมาหลายปี
แต่กลายเป็นว่าแบรนด์ใหม่ๆทั้งหลายกลับมุ่งหน้าหาช่องว่างทางการตลาดหรือสร้างพื้นที่ขายใหม่ๆขึ้นให้กับแบรนด์ตัวเอง เพื่อเลี่ยงการชกซึ่งหน้าโดยตรงกับผู้นำตลาด ที่มีส่วนแบ่งตลาดค่อนข้างมากและมีความแข็งแกร่งในกลุ่มผู้ดื่มเพราะการเสียเหงื่อจากการออกกำลังกาย
เห็นได้ชัดคือกลุ่มไทยเบฟฯมีทั้ง 2 แบรนด์ในตลาดนี้ คือ พาวเวอร์ พลัส จับกลุ่ม Real Sport Drinks และ 100 พลัส จับกลุ่ม Casual Sport Drinks
ทำให้ตลาดสปอร์ตดริ้งค์เริ่มเห็นเค้ารางของความชัดเจนในเซกเม้นต์ Casual Sport Drinks ขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งมีทั้งความต่างจากเซกเม้นต์เดิมคือ Real Sport Drinks ทั้งกลุ่มเป้าหมาย คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ และการสื่อสารทางการตลาด
ตลาด Casual Sport Drinks มุ่งตรงไปยังกลุ่มเป้าหมายคนรุ่นใหม่ โดยชูกลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์การสร้างความสดชื่นให้ร่างกาย หรือ ผู้ที่มีกิจกรรมต้องทำในระหว่างวัน เทียบกับเซกเม้นต์ดั้งเดิมที่เน้นกลุ่มผู้สูญเสียเหงื่อจากการออกกำลังเป็นหลัก
ขณะที่การเป็น Casual จะทำให้ขยายกลุ่มมายังกลุ่มผู้ดื่มใหม่ๆได้มากขึ้น ไม่จำกัดเฉพาะกลุ่มเสียเหงื่อด้านกีฬาเท่านั้น ซ้ำยังทำให้ดื่มได้ตลอดเวลาทั้งวัน สะท้อนถึงกลยุทธ์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สามารถเข้าไปทดแทนเครื่องดื่มประเภทอื่นๆเพื่อขยายตลาดให้กว้างขึ้น
แม้ว่า Casual sport drinks จะเพิ่งก่อร่างสร้างตัว และยังมีมูลค่าทางการตลาดที่เทียบไม่ได้กับเครื่องดื่มสปอร์ตดริ้งค์รูปแบบเดิม แต่ตลาดกลับได้รับความสนใจมากขึ้นเรื่อยๆ ไม่เว้นแม้แต่แบรนด์ลีดเดอร์อย่างสปอนเซอร์ที่เริ่มวางแผนการตลาดเชิงรุกเข้าสู่เซกเม้นต์ Casual sport drinks เต็มตัว หลังจากที่ได้ปรับบรรจุภัณฑ์ใหม่ เพื่อให้เหมาะสมกับไลฟ์สไตล์ของผู้ดื่มกลุ่ม white collar
ปี 2558 บริษัท ไทยดริ้งค์ จำกัด ในเครือไทยเบฟฯได้นำเครื่องดื่ม100 พลัสเข้าสู่ตลาดด้วยการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ให้อยู่กึ่งกลางระหว่างเครื่องดื่มอัดลมไร้คาเฟอีนที่ให้ “ความสดชื่น" และเครื่องดื่มแร่ธาตุและเกลือแร่เพื่อตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์คนรุ่นใหม่ที่มีกิจกรรมต้องทำในระหว่างวันมากขึ้นจึงต้องการเครื่องดื่ม "แร่ธาตุและเกลือแร่" เพื่อเติมเต็ม “สิ่ง” ที่สูญเสียไป
ตรงจุดนี้เป็นการวางกลยุทธ์ทางการตลาดที่ไม่ระบุตายตัวว่าเป็นเครื่องดื่มที่เข้ามาทดแทนการสูญเสีย “เหงื่อ” เหมือนๆกับคู่แข่งขันในเซกเม้นต์ Real Sport Drinks สะท้อนถึงความต้องการเปิดพื้นที่กว้างให้กับแบรนด์ของตนเอง
สำหรับการวางจุดยืนอยู่กึ่งกลางระหว่างน้ำอัดลมและเครื่องดื่มเกลือแร่ ยังสามารถจะทำให้เข้ามาเป็นทางเลือกในตลาดน้ำอัดลมได้ทางหนึ่งซึ่งเป็นตลาดที่มีขนาดใหญ่แต่เน้นกระแสสุขภาพ ซึ่งเป็นเทรนด์ที่คนไทยให้ความสำคัญมากขึ้น ขดียวกันยังสามารถเข้าแทรกเพื่อเป็นทางเลือกในตลาด เครื่องดื่มเกลือแร่ที่ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่ซึ่งชื่นชอบออกกำลังกายได้ด้วย
ข้อมูลด้านการตลาด (Marketing) จัดทำโดยผู้เชี่ยวชาญซึ่งมีประสบการณ์ด้านข้อมูลการตลาด มากว่า 10 ปี กลยุทธ์การตลาด (Marketing Strategy) คือ กลวิธีหรือแบบแผนเพื่อช่วยให้สินค้าและบริการเป็นที่น่าสนใจในสายตาของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายและตอบสนองการใช้งานของลูกค้า
แผนการตลาด คือแผนปฏิบัติการของกลยุทธ์การตลาดในช่วงเวลาข้างหน้า (1 เดือน 3 เดือน หรือ 1 ปี) แผนการตลาดรวมถึง ภาพรวมเป้าหมายการตลาดและโฆษณา รายละเอียดและระยะเวลาของแผนการตลาด และตัวชี้วัดประสิทธิภาพ (KPI) เป้าหมายของแผนการตลาดคือการสร้างทิศทางที่ชัดเจนให้กับธุรกิจ
แผนการตลาดที่ดีต้องสามารถปฏิบัติได้จริง ซึ่งก็หมายความว่าเราควรจะลงรายละเอียดวิธีการปฏิบัติ และทำการประเมินระยะเวลาที่จะเห็นผลด้วย ยกตัวอย่างเช่นแผนการตลาด Instagram ของคุณอาจจะรวมถึงการโพสต์รูปทุกวัน เป็นเวลา 3 เดือนเพื่อเพิ่มจำนวนคนติดตาม
พบกับเนื้อหาของการวางกลยุทธ์การตลาด ผ่านเครื่องมือ Marketing Mix 4Ps ของแบรนด์ชั้นนำในตลาด พร้อมด้วยเนื้อหาของสภาพแวดล้อมทางการตลาดพร้อมกับการมองทิศทางของโอกาสและอุปสรรค รวมตัวเลขของขนาดตลาด (Market size) ส่วนแบ่งตลาด (Market share) ส่วนประสมทางการตลาด / กลยุทธ์ทางการตลาด ( Market Mixed / 4p's ) และแนวโน้ม ( Trend )
กลยุทธ์การตลาด-แผนธุรกิจ / Marketing Information & Strategy ,พบกับข้อมูลการตลาด (Marketing) แผนธุรกิจ การวางกลยุทธ์การตลาด (Market Mixed / 4p's) การแข่งขัน (Market Analysis) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ KEY SUCCESS FACTOR (KSF) โอกาส-อุปสรรค วิเคราะห์ปัจจัยภายนอก (PEST) มูลค่าตลาด (Market Size) ส่วนแบ่งการตลาด (Market Share) กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย https://www.mktinfoonline.com/
ข้อมูลชุดนี้อยู่ในรูปแบบไฟล์ MS Word มีจำนวน 9 หน้า อัพเดทล่าสุด 30/12/2564 ราคา 350 บาท จัดส่งผ่านอีเมลล์ภายใน 60 นาที สนใจรายละเอียด/สั่งซื้อ คลิ๊ก https://wwwmktinfoonlinecom/indexphp/order-now/
ติดต่อสอบถาม/สั่งซื้อ LINE ID : @marketinfo หรือคลิ๊กลิงก์ http://lineme/ti/p/@marketinfo
EBOOK แผนธุรกิจ คู่แข่งขัน วิจัย กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย อีบุ๊กธุรกิจการตลาด อีบุ๊คธุรกิจการตลาด วิเคราะห์ปัจจัยภายนอก PESTEL โอกาสอุปสรรค 5forces KeySuccessFactors KSF ปัจจัยแห่งความสำเร็จ บริษัทมาร์เก็ตอินโฟแอนด์คอมมูนิเคชั่นจำกัด
คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ นิด้า มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยนครพนม มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น มหาวิทยาลัยเกริก มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยคริสเตียน มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา มหาวิทยาลัยชินวัตร มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น มหาวิทยาลัยตาปี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร มหาวิทยาลัยธนบุรี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเนชั่น มหาวิทยาลัยปทุมธานี มหาวิทยาลัยพายัพ มหาวิทยาลัยพิษณุโลก มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น มหาวิทยาลัยภาคกลาง มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชธานี มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยสยาม มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เอแบค มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ มหาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก
สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น สถาบันเทคโนโลยียานยนต์มหาชัย สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ สถาบันวิทยาการประกอบการแห่งอโยธยา สถาบันรัชต์ภาคย์ สถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค
วิทยาลัยเชียงราย วิทยาลัยดุสิตธานี วิทยาลัยทองสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพนมวันท์ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ วิทยาลัยนครราชสีมา วิทยาลัยนานาชาติราฟเฟิลส์ วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย วิทยาลัยพิชญบัณฑิต วิทยาลัยสันตพล วิทยาลัยอินเตอร์เทคลำปาง